แบบวัดสถานะความอุ่นใจในห้องเรียน

คำถาม: 1/35

ฉันทบทวนตนเองอยู่เสมอ เช่น ทบทวนสิ่งที่ตนเองทำ ชีวิตประจำวัน การพูดคุยกับนักเรียน เป็นต้น

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 2/35

ฉันมีความรู้สึกอยากเปลี่ยนแปลงตนเองในทางที่ดีขึ้น

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 3/35

ฉันมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับอารมณ์เชิงบวก

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 4/35

ฉันสามารถนำแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 5/35

ฉันสามารถรับรู้ เข้าใจ และพูดหรือบอกสะท้อนอารมณ์ของตนเอง

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 6/35

ฉันสามารถสะท้อนหรือบอกอารมณ์ของผู้อื่นได้

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 7/35

ฉันสามารถบอกหรืออธิบายสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปได้หลังจากเข้าร่วมโครงการ

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 8/35

เมื่อเกิดปัญหาขึ้น ฉันสามารถระบุปัญหา และมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาด้วยหลักจิตวิทยาเชิงบวกได้

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 9/35

ฉันเข้าใจผู้อื่น

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 10/35

ฉันมีมุมมองที่หลากหลายกับพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกมาและ สามารถบอกได้ว่า มาจากสาเหตุอะไร เช่น เด็กใช้ความรุนแรงมาจากสาเหตุอะไรบ้าง

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 11/35

ฉันยอมรับความแตกต่างหลากหลาย

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 12/35

ฉันเคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 13/35

ฉันสามารถใช้ทักษะการฟังในระดับ I in it (ฟังจนจบ และทำความเข้าใจในเรื่องราว)

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 14/35

ฉันสามารถพูดถึงจุดแข็งเชิงบวกของตัวนักเรียนได้มากกว่า 3 จุดแข็ง

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 15/35

ฉันสนับสนุนในความสามารถ ทักษะ และแนะแนวทางการพัฒนาให้กับนักเรียน

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 16/35

ฉันสามารถสร้างข้อตกลงร่วมกับเด็กนักเรียนในห้องเรียน เวลาสอน เวลาทำกิจกรรมผ่านการพูดคุยและชวนตั้งคำถามได้

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 17/35

ฉันสามารถใช้ทักษะ SEA (ทักษะในการชื่นชมเด็ก Spotting Explanation Appreciation

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 18/35

ฉันสามารถใช้เครื่องมือการ์ดเชื่อมใจ

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 19/35

ฉันมีทักษะการเป็นผู้พูดที่ดี

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 20/35

ฉันมีทักษะการเป็นผู้ฟังที่ดี

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 21/35

ฉันชวนนักเรียนพูดคุยเรื่องเล็ก ๆ บ่อยขึ้น และนักเรียนหลายคนได้มีโอกาสพูดคุยเรื่องเล็กๆ กับฉัน (Small talk)

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 22/35

ฉันไม่ใช้คำพูดที่ทำร้ายจิตใจเด็ก

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 23/35

ฉันสามารถสร้างบรรยากาศที่เป็นกันเองในการพูดคุยกับครอบครัวของเด็ก

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 24/35

ฉันสามารถใช้เครื่องมือ Empower ในการแก้ปัญหาแก่นักเรียนได้

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 25/35

ฉันสามารถใช้ทักษะการฟังแบบ Deep listening (เกิดเป็นพฤติกรรมฟังนักเรียนโดยจบประโยคได้)

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 26/35

ฉันสามารถบอกและสื่อสารคำคลังศัพท์ด้านอารมณ์เพิ่มมากขึ้น

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 27/35

ฉันพูดคุยให้คำปรึกษาได้ทั้งเรื่องเล็ก หรือ เรื่องลำบาก แนะนำในสิ่งที่ถูกต้องได้

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 28/35

ฉันสามารถเลือกใช้คำพูดในการสื่อสารเชิงบวกไม่ทำร้ายจิตใจ

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 29/35

ฉันสามารถพูดสะท้อนอารมณ์และความรู้สึกของนักเรียนที่มาปรึกษา ณ ห้วงจังหวะสนทนาได้

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 30/35

ฉันสามารถเลือกใช้คำถามเพื่อหาที่มา แทนการกร่นด่า เมื่อนักเรียนใช้ความรุนแรง

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 31/35

มีกิจกรรมการทำงานแบบมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและครอบครัวบนฐานจิตวิทยาเชิงบวก

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 32/35

มีกิจกรรมที่ช่วยให้เกิดการร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุนกันและกันของโรงเรียนและครอบครัว ทั้งด้านวิชาการ และทักษะด้านอื่นๆ ตามความสนใจของเด็ก โดยไม่เลือกปฏิบัติ

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 33/35

ครู นักเรียน และผู้ปกครอง สามารถพูดคุย ปรึกษา กันได้อย่างเปิดเผยและสบายใจ

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 34/35

ฉันรู้สึกปลอดภัยทั้งที่บ้านและโรงเรียน

0
0
1
2
3
4
5

คำถาม: 35/35

ฉันรับรู้ได้ว่า ฉันเป็นที่รัก ผู้อื่นที่อยู่รอบตัวฉัน

0
0
1
2
3
4
5
จงตอบโดยให้ค่าคะแนนใกล้เคียงกับเรามากที่สุด 1 = น้อยที่สุด 2 = น้อย 3 = ปานกลาง 4 = มาก 5 = มากที่สุด